วัน พฤหัสบดี ที่ 21 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan : BCP) โรงเรียนบ้านโนนฝาย
แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
(Business Continuity Plan : BCP)
โรงเรียนบ้านโนนฝาย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๓
สารบัญ
หน้า
บทนำ
1. วัตถุประสงค์ (Objectives) ของการจัดทำแผนดำเนินการธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
2. สมมติฐานของแผนการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP Assumptions)
3. ขอบเขตของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Scope of BCP)
4. การวิเคราะห์ทรัพยากรสำคัญ ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ผลกระทบจากเหตุการณ์สภาวะวิกฤต
5. ทีมงานแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business continuity Plan Team)
ตารางที่ 2 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team)
6. ผลกระทบต่อกระบวนการท างานหรือการให้บริการ
ตารางที่ 3 ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis)
7. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคัญ
ตารางที่ 4 การระบุพื้นที่การปฏิบัติงานสำรอง
ตารางที่ 5 การระบุจำนวนวัสดุอุปกรณ์
ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยี
ตารางที่ 7 การระบุจำนวนบุคลากรหลักที่จะเป็น
ตารางที่ 8 การระบุผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ
8. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)
ตารางที่ 9 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนการ
ภาคผนวก ก การกำหนดกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Call tree)
แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan : BCP)
โรงเรียนบ้านโนนฝาย
.........................................................................
บทนำ
ตามมติคณะรัฐมนตรี ในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕ เห็นชอบแนวทางและ มาตรการที่กำหนดให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติภารกิจหลักหรืองานบริการที่สำคัญได้อย่างต่อเนื่องแม้เกิดสภาวะวิกฤตและมอบหมายให้ สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการดำเนินการให้แก่หน่วยงานของรัฐ และตาม มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓ เห็นชอบมาตรการเตรียมความพร้อมของหน่วยงาน ภาครัฐในการบริหารราชการและให้บริการประชาชนในสภาวะวิกฤต โดยให้หน่วยงานของรัฐทุก หน่วยดำเนินการทบทวนและปรับปรุงแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อม ต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan) ให้เป็นปัจจุบัน โดยนำมาตรการเตรียมความพร้อม แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง หรือที่เรียกว่า “Business Continuity Plan (BCP)” สามารถนำไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เหตุอุทกภัย เหตุอัคคีภัย เหตุประท้วง/จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด หรือเหตุภัยอื่น ๆ ที่ส่งผลให้ หน่วยงานต้องหยุดดำเนินงานหรือไม่สามารถให้บริการผู้รับบริการ ประชาชนทั่วไปได้อย่างต่อเนื่อง โดยยึดแนวทางการบริหารความเสี่ยงเพื่อป้องกันภัยคุกคามภาวะวิกฤต ตามมาตรฐานสากล BS๒๙๙ Business Continuity Management โดยมุ่งเน้นกระบวนการที่เกี่ยวข้องดังนี้
๑. ความต่อเนื่องของการบริหาร การจัดตั้งทีมงานบริหารตามลำดับโครงสร้าง
๒. กำหนดกระบวนงานสำคัญของหน่วยงานเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบหรือความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง (RISK Assessment-RA) และระบุความเร่งด่วนของกิจกรรมเพื่อ ข้อมูลในการจัดระดับความสำคัญของกระบวนงานการกำหนดแนวทาง
๓. กำหนดกลยุทธ์ในการสร้างความต่อเนื่องเพื่อให้การดำเนินการในทุกภาคส่วนของ หน่วยงานไม่หยุดชะงัก ประกอบด้วย บุคลากร สถานที่ปฏิบัติงาน อุปกรณ์และเครื่องมือ เทคโนโลยี ข้อมูล และผู้ให้บริการ
๔. พัฒนาและเตรียมการสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน
๕. ทดสอบ ปรับปรุง และทบทวนแผน วางรูปแบบการทดสอบ อาจมีตั้งแต่ระดับง่ายไปถึง ระดับยาก เช่น Call Tree ซ้อมการแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกที่เกี่ยวข้องทราบ, Tabletop Testing ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย จำลองโจทย์สถานการณ์ขึ้นมาและทดลองนำแผน BCP มาพิจารณาว่าสามารถใช้ตอบ โจทย์แต่ละขั้นตอนได้หรือไม่, Simulation คือ การทดสอบโดยจำลองสถานการณ์ เสมือนจริง และลองใช้แผน BCP มาประยุกต์ใช้ และ Full BCP Exercise คือ การ ทดสอบเต็มรูปแบบและใกล้เคียงสถานการณ์จริงมากที่สุด
๖. การปลูกฝัง BCP ให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร เป็นขั้นตอนที่สำคัญในการทำให้ BCP ผลมกลมกลืนเข้าจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและจิตวิทยา ที่จะทำให้เจ้าหน้าที่ทุกคนได้ซึมซาบและเข้าใจถึงความสำคัญของ BCP ตลอดจน บทบาทหน้าที่ที่ทุกคนพึงมีเพื่อให้ภารกิจสามารถดำเนินต่อไปได้ในยามที่เกิดเหตุวิกฤต
โรงเรียนบ้านโนนฝาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๑ จัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง หรือที่เรียกว่า “Business Continuity Plan (BCP)” โดยใช้ชื่อใน แผนว่า “หน่วยงาน” ซึ่งการจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP) ถือเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วย ให้หน่วยงาน และบุคลากรในโรงเรียนบ้านโนนฝายสามารถนำไปเป็นแนวทางถือปฏิบัติรับมือกับ เหตุการณ์ฉุกเฉินไม่คาดคิด ทำให้กระบวนการสำคัญตามภารกิจของโรงเรียนบ้านโนนฝาย (Critical Business Process) สามารถขับเคลื่อนการดำเนินการได้อย่างปกติ และช่วยลดระดับความรุนแรง ของผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อโรงเรียนบ้านโนนฝายได้
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้บุคลากรในโรงเรียนบ้านโนนฝายใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องใน การดำเนินการได้
๒. เพื่อให้โรงเรียนบ้านโนนฝายมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตและ ลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดำเนินการหรือการให้บริการ
๓. เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
๔. เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่ ผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของโรงเรียนบ้านโนนฝายแม้ จะต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทำให้การดำเนินงานต้อง หยุดชะงัก
สมมติฐานของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นภายใต้สมมติฐาน ดังนี้
๑. เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นจากภัยต่าง ๆ ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ โรงเรียนอนุบาล ระยอง สามารถนำแนวทางการปฏิบัติงานสำรองตามที่จัดเตรียมไว้และสามารถ ขับเคลื่อนการดำเนินการตามแผนดำเนินการธุรกิจอย่างต่อเนื่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศรับผิดชอบในการส ารองระบบสารสนเทศต่าง ๆ โดยระบบ สารสนเทศสำรองมิได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินเหมือนกับระบบสารสนเทศ หลัก
๓. “บุคลากร” ที่ระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว ในโรงเรียนบ้านโนนฝายทั้งหมด
ขอบเขตของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รองรับสถานการณ์ กรณีเกิดสภาวะ วิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินในโรงเรียนบ้านโนนฝายด้วยเหตุการณ์ต่อไปนี้
๑. เหตุการณ์อุทกภัย
๒. เหตุการณ์อัคคีภัย
๓. เหตุการณ์วาตภัย
๔. เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/จลาจล
๕. เหตุการณ์โรคระบาดต่อเนื่อง
กำรวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ ด้วยสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น มีหลากหลายรูปแบบ อาจส่งผลให้โรงเรียนบ้านโนนฝายได้รับผลกระทบและความเสียหาย บุคลากรไม่สามารถปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงาน หลักได้ เพื่อให้โรงเรียนบ้านโนนฝาย สามารถบริหารจัดการดำเนินงานในโรงเรียนบ้านโนนฝายได้ อย่างต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำคัญจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และต้องระบุไว้ในแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งการเตรียมการทรัพยากรที่สำคัญ จะพิจารณาจากผลกระทบใน ๕ ด้าน ดังนี้
ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นและทำให้ อาคาร สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถใช้ ปฏิบัติงานหลักได้ จนส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะ ยาว ซึ่งรวมถึงผู้รับบริการไม่สามารถเข้าใช้สถานที่ต่าง ๆ ในโรงเรียนบ้านโนนฝายได้
ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ/การจัดหำจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ หมายถึง หมายถึง สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและทำให้ วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญหรือจำเป็น ไม่สามารถจัดหา จัดส่งหรือใช้งานได้ตามปกติ
ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ หมายถึง สภาวะวิกฤตหรือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและทำให้ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ไม่สามารถนำมาใช้ปฏิบัติงานหรือสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้
ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและทำให้ บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตามปกติ
ผลกระทบด้านคู่ค้ำ/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ หมายถึง สภาวะวิกฤต หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและทำให้คู่ค้า (นักเรียน) ผู้ให้บริการ (บุคลากร) และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียไม่สามารถติดต่อหรือให้บริการหรือส่งมอบงานได้ตามปกติ
ตารางที่ 1 สภาวะวิกฤตและผลกระทบจากเหตุการณ์ (ทำเครื่องหมาย ü ในด้านที่ได้รับผลกระทบ)
เหตุการณ์สภาวะวิกฤต
ผลกระทบ
ด้านอาคาร/ สถานที่ปฏิบัติงานหลัก
ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ และการจัดหา/จัดส่ง
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ
ด้านบุคลากรหลัก
คู่ค้า/
ผู้ให้บริการ/
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
1
เหตุการณ์อุทกภัย
ü
ü
ü
ü
2
เหตุการณ์อัคคีภัย
ü
ü
ü
ü
ü
3
เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/ จลาจล
ü
ü
ü
ü
ü
4
เหตุการณ์โรคระบาดต่อเนื่อง
ü
ü
แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการดำเนินงานปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดำเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน เนื่องจากหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดยผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละกลุ่มงานและฝ่ายงานสามารถรับผิดชอบและดำเนินการได้ด้วยตนเอง
ทีมงานแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business continuity Plan Team)
เพื่อให้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business continuity Plan : BCP) โรงเรียนบ้านโนนฝาย สามารถนำ ไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยทีมงานแผนดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง BCP Team ประกอบด้วย คณะบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องระดับสถานศึกษา หัวหน้าทีมบริหารระดับกลุ่มงาน สายชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ แผนงาน โครงการ ฯลฯ โดยจะต้อง ร่วมมือกันดูแล กำกับ ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในกลุ่มงานของตนเอง ให้ สามารถบริหารได้อย่างต่อเนื่องและกลับสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ตามบทบาทหน้าที่ที่กำหนดไว้ ดังนั้น เพื่อให้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ของโรงเรียนอนุบาลระยอง สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จึงได้แต่งตั้งคณะบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อดำเนินการ ในสภาวะวิกฤตของโรงเรียนอนุบาลระยอง โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้
คณะบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินการในสภาวะวิกฤตของ โรงเรียนบ้านโนนฝายมีอำนาจหน้าที่ในการประเมินลักษณะ ขอบเขตและแนวโน้มของ อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อตัดสินใจประกาศใช้ แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องและการ ดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหาร ตลอดจนสรรหาทรัพยากรตามที่กำหนด ไว้ในแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และกำหนดนโยบาย กำกับ ดูแลและติดตามผล
คณะบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องเพื่อดำเนินการในสภาวะวิกฤต
ของโรงเรียนบ้านโนนฝาย
คณะที่ปรึกษา (กรรมการสถานศึกษาโรงเรียน)
กลุ่มอำนวยการ
ความต่อเนื่อง บุคลากรในกลุ่ม
กลุ่มนโยบายและแผน
ความต่อเนื่อง บุคลากรในกลุ่ม
กลุ่ม ICT
ความต่อเนื่อง บุคลากรในกลุ่ม
กลุ่มบริหารงานบุคคล
ความต่อเนื่อง บุคลากรในกลุ่ม
กลุ่มพัฒนากลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ความต่อเนื่อง บุคลากรในกลุ่ม
หัวหน้าคณะบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
(ผู้อำนวยการโรงเรียน)
๒.คณะกรรมการบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การ ดำเนินการในสภาวะวิกฤตของโรงเรียนบ้านโนนฝาย มี อำนาจหน้าที่ ดังนี้
๒.๑ แต่งตั้งทีมบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่องภายในกลุ่มงาน/ระดับชั้นหรือสาย ชั้น/กลุ่ม สาระการเรียนรู้/กิจกรรมหรือโครงการพิเศษ
๒.๒ รายงานข้อมูลข่าวสารหรือเหตุการณ์ที่อาจนำมาซึ่งแนวโน้มการเกิดอุบัติการณ์แก่ หัวหน้าคณะบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่องหรือรองหัวหน้าคณะบริหารฯ ตามที่ได้รับ มอบหมายของโรงเรียนบ้านโนนฝาย เพื่อให้ตรวจสอบและประเมินสถานการณ์ เบื้องต้น
๒.๓ แจ้งให้ทีมบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่องของโรงเรียนบ้านโนนฝายปฏิบัติตามขั้นตอน แนวทางของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามที่ประกาศไว้
๒.๔ ดำเนินการตามแผนอย่างต่อเนื่อง
๒.๕ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการตามแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และรายงาน ความคืบหน้าการแก้ไขสภาวะวิกฤตต่อหัวหน้าคณะบริหาร ฯ อย่างสม่ำเสมอหรือ ตามที่กำหนดไว้
๓.ทีมบริหารการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องของโรงเรียนระดับกลุ่มงาน/ระดับชั้นหรือสาย ชั้น/กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ฯลฯ มีหน้าที่ในการปฏิบัติตามขั้นตอนและกำหนด รายชื่อ Call Tree ท าหน้าที่แจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับบุคลากรในโรงเรียนบ้านโนนฝาย และคณะทีมงานทั้งหมดเพื่อการบริหารจัดการขั้นตอนในการติดต่อ ประสานการปฏิบัติ หน้าที่ หลังจากมีการประกาศอุบัติการณ์หรือสภาวะวิกฤต หลังจากได้รับการตอบรับจากหัวหน้าทีมบริหารดำเนินการธุรกิจอย่างต่อเนื่องรับทราบเหตุการณ์ฉุกเฉินและการ ประกาศใช้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
ตารางที่ ๒ รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP Team)
บุคลากร
เบอร์โทร
บทบาท
นายธนพจน์ สายพวงเพชรโชติ
๐๖๔-๒๓๑๗๒๗๑
หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องกลุ่มอำนวยการ
นางสาวถาวร ชาลีเครือ
๐๘๕-๗๖๙๖๖๓๐
หัวหน้าทีมบริหารงานวิชาการ
นางปวีณา นามอินทร์
๐๘๘-๓๔๓๕๖๓๑
หัวหน้าทีมบริหารงานแผนและงบประมาณ
นายชัยวุฒิช่างหล่อ
๐๘๒-๑๕๒๘๒๔๒
หัวหน้าทีมบริหารงานทั่วไป
นายมนพัทธ์ จิตมา
เจ้าหน้าที่ธุรการ
นายสันเสริญ อุ่นสวัสดิ์
นักการภารโรง
ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ
การวิเคราะห์ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis) โดยใช้เกณฑ์ในการกำหนดระดับผลกระทบ ดังนี้
ระดับผลกระทบ
หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับของผลกระทบ
สูงมาก
▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการลดลง มากกว่าร้อยละ 50 ▪ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน
▪ เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
สูง
▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ ลดลงร้อยละ 25-50
▪ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน
▪ เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาช
ปานกลาง
▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ ลดลงร้อยละ 10-25
▪ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน
ไม่เป็นสาระสำคัญ
▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ ลดลงน้อยกว่าร้อยละ 5
หมายเหตุ : สามารถกำหนดระดับผลกระทบได้ตามความเหมาะสม เช่น สูง/ปานกลาง/ต่ำ หรือ สูงมาก/สูง/ปานกลาง/ต่ำ/ไม่เป็นสาระสำคัญ เป็นต้น
เมื่อนำเกณฑ์การพิจารณาระดับผลกระทบมาใช้ในการวิเคราะห์งานตามภารกิจของสำนักงานแล้ว พบว่ากระบวนการทำงานที่หน่วยงานต้องให้ความสำคัญและกลับมาดำเนินงานหรือฟื้นคืน สภาพให้ได้ภายในระยะเวลาตามที่กำหนดปรากฎดังตารางที่ ๓
ตารางที่ ๓ ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis)
กระบวนการหลัก
ระดับผลกระทบ/ความเร่งด่วน
(สูง/ปานกลาง/ต่ำ)
ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพ
4ชั่วโมง
1วัน
1สัปดาห์
2สัปดาห์
1เดือน
หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องกลุ่มอำนวยการ
ปานกลาง
ü
หัวหน้าทีมบริหารงานวิชาการ
ปานกลาง
ü
หัวหน้าทีมบริหารงานแผนและงบประมาณ
ปานกลาง
ü
หัวหน้าทีมบริหารงานทั่วไป
ปานกลาง
ü
เจ้าหน้าที่ธุรการ
ปานกลาง
ü
นักการภารโรง
ปานกลาง
ü
หมายเหตุ : การกำหนดช่วงของระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความหมาะสม
สำหรับกระบวนงานอื่น ๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมีความยืดหยุ่นสามารถชะลอการดำเนินงานและการให้บริการได้ โดยให้ผู้บริหารของฝ่ายงานประเมินความจำเป็นและเหมาะสม ทั้งนี้ หากมีความจำเป็นให้ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่องเช่นเดียวกับกระบวนงานหลัก
การวิเคราะห์เพื่อกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคัญ
< >ด้านสถานที่ปฏิบัติงานสำรอง (Working Space Requirement) ดังตารางที่ ๔
ทรัพยากร
สถานที่/ที่มา
ระยะเวลาเป้าหมายฟื้นคืนสภาพ
๔ ชั่วโมง
๑ วัน
๑ สัปดาห์
๒ สัปดาห์
๑ เดือน
พื้นที่สำหรับปฏิบัติงานสำรอง
อาคารบริเวณโรงเรียน
อย่างน้อย๑๐๐ตรม.
อย่างน้อย๑๕๐ตรม.
อย่างน้อย๒๐๐ตรม.
ห้องพักครูอาคารของโรงเรียน
ปฏิบัติงานที่บ้าน
๓ คน
๓-๕ คน
๓-๖ คน
๖ คน
2) ความต้องการด้านวัสดุอุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางที่ 5
ตารางที่ 5 การระบุจำนวนวัสดุอุปกรณ์
ทรัพยากร
ที่มา
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
2 สัปดาห์
1 เดือน
เครื่องปริ้นเตอร์ (สี และขาวดำ)
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ /ใช้เครื่อง ส่วนตัวของ เจ้าหน้าที่
3
3
5
5
๖
กระดาษ A4
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ
5
5
5
5
๖
หมึกปริ้นเตอร์
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ
5
5
5
5
๖
ชุดอุปกรณ์วีดิทัศน์ โทรทัศน์ กล้องถ่ายรูป ชุด ประชาสัมพันธ์และ ระบบโครงข่ายโทรคมนาคม เพื่อการศึกษา
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ /ใช้เครื่อง ส่วนตัวของ เจ้าหน้าที่
1
1
1
1
1
ถังดับเพลิง
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ
1
1
1
1
1
วัสดุ อุปกรณ์ ฆ่าเชื้อ โรคป้องกันโรค/วัสดุ อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน
ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ
5
5
5
5
๖
3) ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information Requirement)
ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยี
ทรัพยากร
แหล่งข้อมูล/ที่มา
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
2 สัปดาห์
1 เดือน
ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัย (CCTV)
(CCTV)
หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง / ระบบ IT หน่วยงาน
ü
ü
ü
ü
เอกสารการเงิน เช่น ใบแจ้ง หนี้ ใบเสร็จรับเงิน ฯลฯ
ผู้ประกอบการ/คคู่้า
ü
ü
ü
ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรม งาน/โครงการของ หน่วยงาน
ระบบสำรองข้อมูล ภายนอกองค์กร
ü
ü
ข้อมูลประกอบการจัดทำ แผนงาน/งบประมาณ
ระบบสำรองข้อมูล ภายนอกองค์กร
ü
ü
4) ความต้องการด้านบุคลากรสำหรับความต่อเนื่องเพื่อปฏิบัติงาน (Personnel Requirement)
ตารางที่ 7 การระบุจำนวนบุคลากรหลักที่จำเป็น
ทรัพยากร
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
2 สัปดาห์
1 เดือน
จำนวนบุคลากรปฏิบัติงานที่
สำนักงาน/ สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
๔๐% ของจำนวนทั้งหมด
๔๐% ของจำนวนทั้งหมด
๔๐% ของจำนวนทั้งหมด
๔๐% ของจำนวนทั้งหมด
๔๐% ของจำนวนทั้งหมด
จำนวนบุคลากรที่จำเป็นต้องปฏิบัติงานที่บ้าน
๒
๒
๒
๒
๒
รวม
๒
๒
๒
๒
๒
๕) ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สำคัญ (Service Requirement)
ตารางที่ ๘ การระบุผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ
ทรัพยากร
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
2 สัปดาห์
1 เดือน
บุคลากรในโรงเรียน
ü
ü
ü
ü
ผู้ปกครองนักเรียน
ü
ü
ü
ü
หน่วยงานอื่น ๆ เช่น เทศบาล โรงพยาบาล องค์กรท้องถิ่น เป็นต้น
ü
ü
ü
ü
8. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากรให้มีความพร้อมเมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ซึ่งพิจารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางที่ 9
ตารางที่ 9 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)
ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง
อาคาร/ สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
▪ กำหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสำรองภายในอาคารสำนักงาน โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของสถานที่ ไว้ล่วงหน้า
▪ กำหนดพื้นที่ปฏิบัติงานสำรองไว้แต่ละอำเภอโดยให้มีการประสานงานไว้ล่วงหน้า โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ไว้ล่วงหน้า
▪ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ช่องทางการติดต่อ ณ ที่ ปฏิบัติงานสำรอง กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินไม่สามารถเข้ามารับบริการ ณ สำนักงานได้ (สถานที่ปฏิบัติงานหลัก)
วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ / การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ
▪ จัดให้มีคอมพิวเตอร์สำรอง จำนวน 5 เครื่อง ที่มีคุณลักษณะ เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อผ่าน อินเทอร์เน็ต เชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีของหน่วยงาน และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกได้ หากไม่สามารถจัดเตรียม ไว้ล่วงหน้าได้ ให้จัดทำข้อมูลหน่วยงานที่สามารถติดต่อ ประสานงานหรือจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ในการทำงานได้ อย่างทันการณ์เมื่อเกิดสภาวะวิกฤต
▪ กรณีคอมพิวเตอร์สำรองไม่เพียงพอหรือจัดหาไม่ได้หรืออยู่ ระหว่างการจัดหา กำหนดให้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop/Notebook) ของเจ้าหน้าที่ได้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ ต้องได้รับการอนุญาตจากหน่วยงานก่อน
เทคโนโลยี
สารสนเทศและ
ข้อมูลที่สำคัญ
▪ พัฒนาระบบสำรองข้อมูล และให้มีการสำรองข้อมูล (Back-up) ให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง
▪ ระบบสำรองข้อมูลต้องรองรับการเชื่อมต่อทางไกลบนอุปกรณ์ และ/หรือคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นปัจจุบันได้
▪ วางแผนงานการกอบกู้ระบบการบริหารเทคโนโลยี และ/หรือ ระบบสำรองข้อมูลในภาวะฉุกเฉิน โดยแผนต้องระบุ กระบวนการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลไว้ด้ว
▪ จัดให้มีศูนย์ข้อมูลกลางทั้งในระดับท้องถิ่นและจังหวัด โดยมี การสำรองข้อมูล (Back-up) เพื่อการใช้งานเดือนละครั้ง
▪ จัดให้มีระบบป้องกันความเสี่ยงจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ (Server) เช่น มีเครื่องสำรองไฟเพื่อการใช้งานทั้ง อาคารสำนักงาน และมีเครื่องทำความเย็นเพื่อรักษาอุณหภูมิ ของเครื่องเซิฟเวอร์ (Server)
บุคลากรหลัก
▪ ให้ใช้บุคลากรสำรองทดแทนภายในกลุ่มงานเดียวกัน
▪ ให้ใช้บุคลากรนอกกลุ่มงานในกรณีที่บุคลากรไม่ เพียงพอหรือขาดแคลน
▪ ให้ใช้การปฏิบัติงานเหลื่อมเวลา
▪ ให้ปฏิบัติงานที่บ้านหากมีผลกระทบต่อชีวิตและความ ปลอดภัยของบุคลากร
คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
▪ สพฐ. ผู้ให้บริการระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เบอร์โทรศัพท์ในการติดต่อ เบอร์โทร หรือ eMail
▪ สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เบอร์โทร........
▪ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
▪ ทีโอที (TOT) และ กสท. (CAT) ผู้ให้บริการเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Free WIFI กรณีเกิดภาวะฉุกเฉินของเครือข่ายใน ระบบใดระบบหนึ่ง ให้ใช้เครือข่ายที่เหลือทดแทน หรือให้ใช้ อุปกรณ์เชื่อมโยงระบบแบบพกพา (Air-card) หากผู้ให้บริการ ไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
▪ กระทรวงการคลัง ผู้ดูแลระบบ GFMIS เบอร์โทร........
▪ บริษัท ไปรษณีย์ไทย ผู้ให้บริการรับและจัดส่งเอกสาร
▪ บริษัท...... ผู้ส่งมอบวัสดุ/อุปกรณ์/เครื่องมือเครื่องใช้ ให้แก่ สำนักงาน เบอร์โทร....
▪ บริษัท.... ผู้รับเหมาก่อสร้างโครงการ... เบอร์โทร....
9. ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนการที่ 1 การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที (ภายใน 24 ชั่วโมง)
การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นและปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
แจ้งเหตุฉุกเฉิน ให้กับบุคลากรภายใน โรงเรียนทราบ ตามกระบวนการในแต่ละ กลุ่มงาน ภายหลังได้รับแจ้งจาก หัวหน้า คณะบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่องของหน่วยงาน
หัวหน้าทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
o
จัดประชุมทีมงานบริหารแผนดำเนิน ธุรกิจอย่างต่อเนื่องเพื่อประเมินความ เสียหาย ขอผลกระทบต่อการดำเนินการ จัดการเรียนการสอนการให้บริหาร และ ทรัพยากรที่ต้องใช้ในการทำงาน
ทบทวนงานที่มีความเร่งด่วน หรือ ส่งผลกระทบอย่างสูงหากไม่ดำเนินการ จำเป็นต้องดำเนินการหรือปฏิบัติด้วยมือ
หัวหน้าและทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง
o
ระบุและสรุปรายชื่อบุคลากรในกลุ่ม งาน ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลกระทบ เหตุการณ์ หรือเสียชีวิต
หัวหน้าและทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง
o
รายงานหัวหน้าคณะบริหารแผนดำเนิน ธุรกิจอย่างต่อเนื่องของหน่วยงานทราบ โดยครอบคลุมทุกประเด็น ดังนี้
-จำนวนและรายชื่อผู้ได้รับบาดเจ็บ/ ผลกระทบ/เสียชีวิต
- ความเสียหายและผลกระทบต่อการดำเนินงานและการให้บริการ
- อุปกรณ์ที่สำคัญที่ต้องใช้ในการ บริหารความต่อเนื่อง- กระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและ ส่งผลกระทบอย่างสูง หากไม่ ดำเนินการ
หัวหน้าและทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง
o
สื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่ บุคลากรในโรงเรียนให้ทราบ ตามเนื้อหา และข้อความที่ได้รับการพิจารณาและ เห็นชอบจาก คณะบริหารแผนดำเนิน ธุรกิจต่อเนื่องของหน่วยงานแล้ว
หัวหน้าและทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง
o
ประเมินศักยภาพและความสามารถ ของโรงเรียน ในการดำเนินงานเร่งด่วน ภายใต้ข้อจำกัด พร้อมระบุทรัพยากรที่ จำเป็นต้องใช้ในการบริหารแผนดำเนิน ธุรกิจอย่างต่อเนื่องตามแผนการจัดหา ทรัพยากร
หัวหน้าและทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง
o
รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าทีม บริหารแผนดำเนินธุรกิจต่อเนื่องของ โรงเรียนทราบอย่างสม่ำเสมอหรือตามที่ ได้กำหนดไว้
หัวหน้าและทีมงานบริหารแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง
o
วันที่ 2-7 การตอบสนองในระยะสั้น
การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่น และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ ประเมินความจำเป็นและระยะเวลา ที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน
หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ตรวจสอบกับหน่วยงาน ความพร้อมและข้อจำกัดใน การจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง ได้แก่
- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ
- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ
- บุคลากรหลัก
- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ หน่วยงาน ความพร้อม ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะ ในการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง
หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ประสานงานและดำเนินการจัดหาทรัพยากรที่ จำเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่
- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ
- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ
- บุคลากรหลัก
- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ดำเนินการกอบกู้และจัดหาข้อมูลและรายงานต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงานและให้บริการตาม ตารางที่ 6
ทีมงานความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ดำเนินงานและให้บริการ ภายใต้ทรัพยากรที่จัดหา เพื่อบริหารความต่อเนื่อง:
- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ
- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ
- บุคลากรหลัก
- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารความ ต่อเนื่องแก่ส่วนราชการ/ผู้ใช้บริการ/คู่ค้า/ประชาชน ผู้มาติดต่อราชการที่ได้รับผลกระทบ
หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มฯ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดำเนินการ และเวลา) อย่าง สม่ำเสมอ
ทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดำเนินการต่อไป สำหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรในกลุ่มฯ
หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้
หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
วันที่ 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์)
การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่น และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ และประเมินความจำเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ระบุทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ เพื่อดำเนินงานและ ให้บริการตามปกติ
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน สถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับ ผลกระทบ และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพื่อดำเนินงาน และให้บริการตามปกติ
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ประสานงานและดำเนินการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้อง ใช้เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ได้แก่
- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ
- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ
- บุคลากรหลัก
- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพยากรต่างๆ เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ให้กับบุคลากรในฝ่าย
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
บันทึกและทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มฯ ( พร้อมระบุ รายละเอียด ผู้ดำเนินการ และเวลา (อย่างสม่ำเสมอ)
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
การตอบสนองระยะยาว (มากกว่า 1 เดือน)
การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่น
และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ และประเมินความจำเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ระบุทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ เพื่อดำเนินงานและ ให้บริการตามปกติ
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน สถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับ ผลกระทบ และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพื่อดำเนินงาน และให้บริการตามปกติ
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ประสานงานและดำเนินการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้อง ใช้เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ได้แก่
- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง
- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ
- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ
- บุคลากรหลัก
- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพยากรต่างๆ เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ให้กับบุคลากรในฝ่าย
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดำเนินการแล้วเสร็จ
บันทึกและทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มฯ ( พร้อมระบุ รายละเอียด ผู้ดำเนินการ และเวลา (อย่างสม่ำเสมอ)
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้
หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ
o
ภาคผนวก ก
การกำหนดกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Call Tree)
เพื่อให้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP) สามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กำหนดให้มีกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Call Tree) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงครามขึ้น โดยกระบวนการ Call Tree คือ กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกในคณะบริหารความต่อเนื่องและทีมบริหารความต่อเนื่อง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถบริหารจัดการในการติดต่อบุคลากรของหน่วยงาน ภายหลังจากมีการประกาศเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือสภาวะวิกฤต
กระบวนการ Call Tree เริ่มต้นที่หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องแจ้งให้ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่องทราบถึงเหตุการณ์ฉุกเฉิน เพื่อให้ผู้ประสานงานฯ แจ้งให้หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องรับทราบเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ จากนั้นทีมบริหารความต่อเนื่องของแต่ละกอง/กลุ่ม/ฝ่าย มีหน้าที่แจ้งไปยังบุคลากรภายใต้การบังคับบัญชาเพื่อรับทราบ โดยมีรายชื่อบุคลากรดังนี้
บุคลากร
เบอร์โทร
บทบาท
นายธนพจน์ สายพวงเพชรโชติ
๐๖๔-๒๓๑๗๒๗๑
หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องกลุ่มอำนวยการ
นางสาวถาวร ชาลีเครือ
๐๘๕-๗๖๙๖๖๓๐
หัวหน้าทีมบริหารงานวิชาการ
นางปวีณา นามอินทร์
๐๘๘-๓๔๓๕๖๓๑
หัวหน้าทีมบริหารงานแผนและงบประมาณ
นายชัยวุฒิช่างหล่อ
๐๘๒-๑๕๒๘๒๔๒
หัวหน้าทีมบริหารงานทั่วไป
นายมนพัทธ์ จิตมา
เจ้าหน้าที่ธุรการ
นายสันเสริญ อุ่นสวัสดิ์
นักการภารโรง