วัน เสาร์ ที่ 23 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
สพป.ชัยภูมิ เขต 3
CPM3 NEWS
แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง สำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan : BCP) โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3
     

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

สำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

(Business Continuity Plan : BCP)

โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล)

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3

 

 

 

 

 

 

 

สารบัญ

 

                                                                                                                        หน้า

บทนำ                                                                                                                    3

1. วัตถุประสงค์ (Objectives) ของการจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง                                   4

2. สมมติฐานของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP Assumptions)                                         4

3. ขอบเขตของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Scope of BCP)                                                 4

4. การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ                                                                                    5

ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ผลกระทบจากเหตุการณ์สภาวะวิกฤต                                         5

5. ทีมงานแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan Team)                                   6

ตารางที่ 2 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team)            6

6. ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ                                                            8

ตารางที่ 3 ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis)         8

7. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคัญ                                                      9

ตารางที่ 4 การระบุพื้นที่การปฏิบัติงานสำรอง                                                            10

ตารางที่ 5 การระบุจำนวนวัสดุอุปกรณ์                                                                    10

ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยี                                                         11

ตารางที่ 7 การระบุจำนวนบุคลากรหลักที่จำเป็น                                                         11

ตารางที่ 8 การระบุผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ                                           11

8. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)                                                      12

ตารางที่ 9 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)                                  14

ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนการ                                                          15

 

 

 

บทนำ

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP) โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล) จัดทำขึ้น เพื่อให้ โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล) เตรียมความพร้อมองค์กร และสามารถนำไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ อุบัติการณ์โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงานต้องหยุดการดำเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง

การที่หน่วยงานไม่มีกระบวนการรองรับให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น ดังนั้น การจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้หน่วยงานสามารถรับมือกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และทำให้กระบวนการที่สำคัญ (Critical Business Process) กลับมาดำเนินงานได้อย่างปกติในระดับการให้บริการที่กำหนดไว้ รวมทั้ง ลดระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อหน่วยงานได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

(Business Continuity Plan : BCP)

โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล)

1. วัตถุประสงค์ (Objectives) ของการจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ

  • เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่อง
  • เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤต และลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดำเนินงานหรือการให้บริการ
  • เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้
  • เพื่อให้ประชาชน เจ้าหน้าที่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของหน่วยงาน แม้หน่วยงานต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทำให้การดำเนินงานต้องหยุดชะงัก

2.  สมมติฐานของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP Assumptions)

เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นภายใต้สมมติฐาน ดังต่อไปนี้

  • เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสำคัญต่าง ๆ  แต่มิได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงานสำรองที่ได้มีการจัดเตรียมไว้
  • หน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศรับผิดชอบในการสำรองระบบสารสนเทศต่าง ๆ โดยระบบสารสนเทศสำรองมิได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินเหมือนกับระบบสารสนเทศหลัก
  • “บุคลากร” ที่ถูกระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง เจ้าหน้าที่และพนักงานทั้งหมดของหน่วยงาน

3.  ขอบเขตของแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (Scope of BCP)

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP) ฉบับนี้ ใช้รองรับสถานการณ์ กรณีเกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่สำนักงานของหน่วยงาน หรือภายในหน่วยงาน ด้วยเหตุการณ์ต่อไปนี้

  • เหตุการณ์อุทกภัย
  • เหตุการณ์อัคคีภัย
  • เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/จลาจล
  • เหตุการณ์โรคระบาดต่อเนื่อง

 

 

 

 

 

4.  การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ

สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการดำเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำคัญจึงเป็นสิ่งจำเป็น และต้องระบุไว้ในแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ ซึ่งการเตรียมการทรัพยากรที่สำคัญ จะพิจารณาจากผลกระทบใน 5 ด้าน ดังนี้

4.1 ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะยาว ซึ่งรวมทั้งการที่ผู้รับบริการไม่สามารถเข้าถึงสถานที่ให้บริการของหน่วยงานด้วย

4.2 ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ/การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ หมายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ หรือไม่สามารถจัดหา/จัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญได้

4.3  ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรือข้อมูลที่สำคัญไม่สามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้ตามปกติ

4.4 ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้ตามปกติ

4.5 ผลกระทบด้านคู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้คู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สามารถติดต่อหรือให้บริการหรือส่งมอบงานได้

ตารางที่ 1 สภาวะวิกฤตและผลกระทบจากเหตุการณ์ (ทำเครื่องหมาย ü ในด้านที่ได้รับผลกระทบ)

เหตุการณ์สภาวะวิกฤต

ผลกระทบ

ด้านอาคาร/ สถานที่ปฏิบัติงานหลัก

ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ และการจัดหา/จัดส่ง

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

ด้านบุคลากรหลัก

คู่ค้า/

ผู้ให้บริการ/

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1

  •  

ü

  •  

 

ü

ü

2

  •  

ü

  •  

ü

ü

ü

3

  • / จลาจล

ü

ü

ü

ü

ü

4

  •  

ü

 

 

ü

ü

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการดำเนินงานปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดำเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน เนื่องจากหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดยผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละกลุ่มงานและฝ่ายงานสามารถรับผิดชอบและดำเนินการได้ด้วยตนเอง

5. ทีมงานแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (Business Continuity Plan Team)

ทีมงานแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ ประกอบด้วย คณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมบริหารความต่อเนื่อง โดยจะต้องร่วมมือกันดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในฝ่ายงานของตนเอง ให้สามารถบริหารความต่อเนื่องและกลับสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ตามบทบาทหน้าที่ที่กำหนดไว้ ดังนี้

1) คณะบริหารความต่อเนื่อง มีหน้าที่ในการประเมินลักษณะ ขอบเขต และแนวโน้มของอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อตัดสินใจประกาศใช้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ และดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรตามที่ได้กำหนดไว้ในแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ

2) ทีมบริหารความต่อเนื่อง มีหน้าที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะบริหารความต่อเนื่อง และดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรที่ได้กำหนดไว้ในแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ ของฝ่ายงาน/ส่วนงานของตน

3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง มีหน้าที่ในการติดต่อ และประสานงานภายในหน่วยงาน ให้การสนับสนุนในการติดต่อสื่อสารกับฝ่ายงาน/ส่วนงาน ภายในหน่วยงาน และดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างและทีมงานแผนบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team)

ของโรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล)

 

คณะที่ปรึกษา

(กรรมการสถานศึกษาโรงเรียน)

รองหัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องและหัวหน้าทีมฯ

กลุ่มบริหารงานวิชาการ

รองหัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องและหัวหน้าทีมฯ

กลุ่มบริหารงานงบประมาณ

รองหัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องและหัวหน้าทีมฯ

กลุ่มบริหารงานบุคคล

รองหัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องและหัวหน้าทีมฯ

กลุ่มบริหารงานทั่วไป

       
   

หัวหน้าคณะบริหารดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

(ผู้อำนวยการโรงเรียน)

 
 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แต่ละตำแหน่งมีหน้าที่ในการร่วมมือ ดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในกลุ่ม งานของตนเอง เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารความต่อเนื่องและกลับสู่สภาวะปกติโดยเร็ว ตามรายชื่อ บุคลากรและบทบาทของทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ที่กำหนดให้เป็นบุคลากรหลัก ในกรณี ที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสำรองรับผิดชอบบทบาทของบุคลากรหลักไปก่อน จนกว่าจะได้มีการมอบหมายและแต่งตั้งขึ้นโดยหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง รายชื่อทีมงานแผน ดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ปรากฏดังตารางที่ 2 ในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้  ให้บุคลากรสำรองรับผิดชอบทำหน้าที่ในบทบาทของบุคลากรหลัก

 

 

 

 

6. ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ

การวิเคราะห์ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis) โดยใช้เกณฑ์ในการกำหนดระดับผลกระทบ ดังนี้

ระดับผลกระทบ

หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับของผลกระทบ

สูงมาก

▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการลดลง มากกว่าร้อยละ 50 ▪ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน

▪ เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

สูง

▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ ลดลงร้อยละ 25-50

▪ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน

▪ เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

ปานกลาง

▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ ลดลงร้อยละ 10-25

▪ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน

ไม่เป็นสาระสำคัญ

▪ ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ ลดลงน้อยกว่าร้อยละ 5

หมายเหตุ : สามารถกำหนดระดับผลกระทบได้ตามความเหมาะสม เช่น สูง/ปานกลาง/ต่ำ หรือ สูงมาก/สูง/ปานกลาง/ต่ำ/ไม่เป็นสาระสำคัญ เป็นต้น

เมื่อนำเกณฑ์การพิจารณาระดับผลกระทบมาใช้ในการวิเคราะห์งานตามภารกิจของสำนักงานแล้ว พบว่ากระบวนการทำงานที่หน่วยงานต้องให้ความสำคัญและกลับมาดำเนินงานหรือฟื้นคืน สภาพให้ได้ภายในระยะเวลาตามที่กำหนดปรากฎดังตารางที่ 4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 3 ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis)

 

กระบวนการหลัก

ระดับผลกระทบ/ความเร่งด่วน

(สูง/ปานกลาง/ต่ำ)

ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพ

 

8ชั่วโมง

1วัน

1สัปดาห์

2สัปดาห์

1เดือน

1. กลุ่มบริหารงานวิชาการ

ปานกลาง

 

ü

 

 

 

2. กลุ่มบริหารงานงบประมาณ

ปานกลาง

 

ü

 

 

 

3. กลุ่มบริหารงานบุคคล

ปานกลาง

 

ü

 

 

 

4. กลุ่มบริหารงานทั่วไป

ปานกลาง

 

ü

 

 

 

 

หมายเหตุ : การกำหนดช่วงของระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

สำหรับกระบวนงานอื่น ๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมีความยืดหยุ่นสามารถชะลอการดำเนินงานและการให้บริการได้ โดยให้ผู้บริหารของฝ่ายงานประเมินความจำเป็นและเหมาะสม ทั้งนี้ หากมีความจำเป็นให้ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่องเช่นเดียวกับกระบวนงานหลัก

7. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดความต้องการทรัพยากรที่สำคัญ

วิเคราะห์ความต้องการทรัพยากรในการสนับสนุนให้โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล) ยังคงสามารถดำเนินงาน หรือให้บริการประชาชนได้เมื่อเกิดสภาวะวิกฤต โดยพิจารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังนี้

< >ด้านสถานที่ปฏิบัติงาน (Working Space Requirement) ดังตารางที่ 4

ทรัพยากร

สถานที่/ที่มา

8 ชั่วโมง

1 วัน

1 สัปดาห์

2 สัปดาห์

1 เดือน

พื้นที่สำหรับสถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

อาคาร/บริเวณสำนักงาน

2 ต.ร.ม.

(3 คน)

4 ตร.ม.  (3 คน)

10 ตร.ม. (9 คน)

30ตร.ม. (10 คน)

50ตร.ม. (15 คน)

ปฏิบัติงานที่บ้าน (คน)

-

5

10

20

30

30

พื้นที่สำหรับสถานที่ ปฏิบัติงานใหม่ในกรณี จำเป็น

ตามที่กำหนดตามกลยุทธ์

2 ต.ร.ม.

(3 คน)

 

4 ตร.ม.  (3 คน)

 

10 ตร.ม. (9 คน)

 

30ตร.ม. (10 คน)

 

50ตร.ม. (15 คน)

 

รวม

 

4 ต.ร.ม.(6 คน)

8 ตร.ม.  (6 คน)

20 ตร.ม. (18 คน)

60ตร.ม. (20 คน)

100ตร.ม. (30 คน)

 

2) ความต้องการด้านวัสดุอุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 การระบุจำนวนวัสดุอุปกรณ์

ทรัพยากร

ที่มา

4 ชั่วโมง

1 วัน

1 สัปดาห์

2 สัปดาห์

1 เดือน

คอมพิวเตอร์สำรองที่มี คุณลักษณะเหมาะสม(เครื่อง)

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ /ใช้เครื่อง ส่วนตัวของ เจ้าหน้าที่

1

1

1

1

1

คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ Server(เครื่อง)

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ

1

1

1

1

1

เครื่องพิมพ์รองรับการใช้ งานกับคอมพิวเตอร์

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ

1

1

1

1

1

โทรศัพท์/โทรสาร/เครื่อง แสกน(เครื่อง)

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ /ใช้เครื่อง ส่วนตัวของ เจ้าหน้าที่

1

1

1

1

1

เครื่องถ่ายเอกสาร(เครื่อง)

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ

1

1

1

1

1

เครื่องสำรองไฟฟ้า(เครื่อง)

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ

1

1

1

1

1

แอร์การ์ด รองรับการใช้ (เครื่อง)งานอินเทอร์เน็ต

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ

1

1

1

1

1

ถังดับเพลิง(เครื่อง)

ร้านค้าผ่าน กระบวนการจัดซื้อ

1

1

1

1

1

 

 

 

 

 

 

 

3) ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information  Requirement)

ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยี

ทรัพยากร

แหล่งข้อมูล/ที่มา

4 ชั่วโมง

1 วัน

1 สัปดาห์

2 สัปดาห์

1 เดือน

ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัย (CCTV)

(CCTV)

หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง / ระบบ IT หน่วยงาน

 

ü

ü

ü

ü

เอกสารการเงิน เช่น ใบแจ้ง หนี้ ใบเสร็จรับเงิน ฯลฯ

ผู้ประกอบการ/คู่ค้า

 

 

ü

ü

ü

ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรม งาน/โครงการของ หน่วยงาน

ระบบสำรองข้อมูล ภายนอกองค์กร

 

 

 

ü

ü

ข้อมูลประกอบการจัดทำ แผนงาน/งบประมาณ

ระบบสำรองข้อมูล ภายนอกองค์กร

 

 

 

ü

ü

4) ความต้องการด้านบุคลากรสำหรับความต่อเนื่องเพื่อปฏิบัติงาน (Personnel Requirement)

ตารางที่ 7 การระบุจำนวนบุคลากรหลักที่จำเป็น

ทรัพยากร

4 ชั่วโมง

1 วัน

1 สัปดาห์

2 สัปดาห์

1 เดือน

จำนวนบุคลากรปฏิบัติงานที่

สำนักงาน/ สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

-

-

-

-

-

จำนวนบุคลากรที่จำเป็นต้องปฏิบัติงานที่บ้าน

-

-

-

-

-

รวม

-

-

-

-

-

5) ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สำคัญ (Service Requirement)

ตารางที่ 8 การระบุผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ

ผู้ขอรับบริการ

4 ชั่วโมง

1 วัน

1 สัปดาห์

2 สัปดาห์

1 เดือน

สถานศึกษาในสังกัด

 

ü

ü

ü

ü

ข้าราชการในสังกัด

 

ü

ü

ü

ü

ข้าราชการบำนาญ

 

ü

ü

ü

ü

อื่นๆ

 

ü

ü

ü

ü

8. กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)

กลยุทธ์ความต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากรให้มีความพร้อมเมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ซึ่งพิจารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางที่ 9

ตารางที่ 9 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy)

ทรัพยากร

กลยุทธ์ความต่อเนื่อง

อาคาร/ สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

▪ กำหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสำรองภายในอาคารสำนักงาน โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของสถานที่ ไว้ล่วงหน้า 

▪ กำหนดพื้นที่ปฏิบัติงานสำรองไว้แต่ละอำเภอโดยให้มีการประสานงานไว้ล่วงหน้า โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ไว้ล่วงหน้า 

▪ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ช่องทางการติดต่อ                           ณ ที่ ปฏิบัติงานสำรอง กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินไม่สามารถเข้ามารับบริการ ณ สำนักงานได้ (สถานที่ปฏิบัติงานหลัก)

วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ / การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ

▪ จัดให้มีคอมพิวเตอร์สำรอง จำนวน 5 เครื่อง ที่มีคุณลักษณะ เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อผ่าน อินเทอร์เน็ต เชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีของหน่วยงาน และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกได้ หากไม่สามารถจัดเตรียม ไว้ล่วงหน้าได้ ให้จัดทำข้อมูลหน่วยงานที่สามารถติดต่อ ประสานงานหรือจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ในการทำงานได้ อย่างทันการณ์เมื่อเกิดสภาวะวิกฤต

▪ กรณีคอมพิวเตอร์สำรองไม่เพียงพอหรือจัดหาไม่ได้หรืออยู่ ระหว่างการจัดหา กำหนดให้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop/Notebook) ของเจ้าหน้าที่ได้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ ต้องได้รับการอนุญาตจากหน่วยงานก่อน

เทคโนโลยี

สารสนเทศและ

ข้อมูลที่สำคัญ

▪ พัฒนาระบบสำรองข้อมูล และให้มีการสำรองข้อมูล (Back-up)  ให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง

▪ ระบบสำรองข้อมูลต้องรองรับการเชื่อมต่อทางไกลบนอุปกรณ์ และ/หรือคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นปัจจุบันได้ 

▪ วางแผนงานการกอบกู้ระบบการบริหารเทคโนโลยี และ/หรือ ระบบสำรองข้อมูลในภาวะฉุกเฉิน โดยแผนต้องระบุ กระบวนการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลไว้ด้วย

▪ จัดให้มีศูนย์ข้อมูลกลางทั้งในระดับท้องถิ่นและจังหวัด โดยมี การสำรองข้อมูล (Back-up) เพื่อการใช้งานเดือนละครั้ง

▪ จัดให้มีระบบป้องกันความเสี่ยงจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ (Server) เช่น มีเครื่องสำรองไฟเพื่อการใช้งานทั้ง อาคารสำนักงาน และมีเครื่องทำความเย็นเพื่อรักษาอุณหภูมิ ของเครื่องเซิฟเวอร์ (Server)

บุคลากรหลัก

▪ ให้ใช้บุคลากรสำรองทดแทนภายในกลุ่มงานเดียวกัน

▪ ให้ใช้บุคลากรนอกกลุ่มงานในกรณีที่บุคลากรไม่ เพียงพอหรือขาดแคลน

▪ ให้ใช้การปฏิบัติงานเหลื่อมเวลา

▪ ให้ปฏิบัติงานที่บ้านหากมีผลกระทบต่อชีวิตและความ ปลอดภัยของบุคลากร

คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

▪ สพฐ. ผู้ให้บริการระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เบอร์โทรศัพท์ในการติดต่อ เบอร์โทร หรือ eMail

▪ สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เบอร์โทร........

▪ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล

▪ ทีโอที (TOT) และ กสท. (CAT)  ผู้ให้บริการเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Free WIFI กรณีเกิดภาวะฉุกเฉินของเครือข่ายใน ระบบใดระบบหนึ่ง ให้ใช้เครือข่ายที่เหลือทดแทน หรือให้ใช้ อุปกรณ์เชื่อมโยงระบบแบบพกพา (Air-card) หากผู้ให้บริการ ไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด

▪ กระทรวงการคลัง ผู้ดูแลระบบ GFMIS เบอร์โทร........

▪ บริษัท ไปรษณีย์ไทย ผู้ให้บริการรับและจัดส่งเอกสาร

▪ บริษัท...... ผู้ส่งมอบวัสดุ/อุปกรณ์/เครื่องมือเครื่องใช้ ให้แก่ สำนักงาน เบอร์โทร....

▪ บริษัท.... ผู้รับเหมาก่อสร้างโครงการ... เบอร์โทร....

 

 

 

 

 

 

9. ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนการนที่ 1 การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที (ภายใน 24 ชั่วโมง)

         การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นและปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤติ ให้กับบุคลากรภายในสำนักงาน ตามกระบวนการในแต่กลุ่มงาน ภายหลังได้รับแจ้งจาก หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่อง

o

  • จัดประชุมทีมงานบริหารความต่อเนื่องเพื่อประเมินความ เสียหายของผลกระทบต่อการดำเนินงาน การให้บริการ และทรัพยากรสำคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง
  • ทบทวนกระบวนงานที่มีความเร่งด่วน หรือส่งผลกระทบ อย่างสูง (หากไม่ดำเนินการ) ดังนั้น จำเป็นต้อง ดำเนินงานหรือปฏิบัติด้วยมือ (Manual Processing)

ทีมงานบริหาร ความต่อเนื่อง

o

  • ระบุและสรุปรายชื่อบุคลากรในกลุ่มงาน ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลกระทบเหตุการณ์ หรือเสียชีวิต

 

o

  • รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน ทราบโดยครอบคลุมประเด็น ดังนี้

- จำนวนและรายชื่อบุคลากรที่ได้รับบาดเจ็บ/ผลกระทบ/เสียชีวิต

- ความเสียหายและผลกระทบต่อการดำเนินงานและการ ให้บริการ

- ทรัพยากรสำคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง

- กระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบอย่างสูง หากไม่ดำเนินการ และจำเป็นต้องดำเนินงาน หรือ ปฏิบัติงานด้วยมือ

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่อง

 

o

  • สื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่บุคลากรในกลุ่มฯ ให้ ทราบ ตามเนื้อหาและข้อความที่ได้รับการพิจารณาและ เห็นชอบจากคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานแล้ว

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

 

o

  • ประเมินและระบุกระบวนการหลัก และงานเร่งด่วนที่ จำเป็นต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน1-5 วันข้างหน้า

หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • ประเมินศักยภาพและความสามารถของหน่วยงานฯ ใน การดำเนินงานเร่งด่วนข้างต้น ภายใต้ข้อจำกัดและ สภาวะวิกฤต พร้อมระบุทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการ บริหารความต่อเนื่องตามแผนการจัดหาทรัพยากร

 

 

 

หัวหน้าและทีมงาน บริหารความต่อเนื่องของ กลุ่มฯ

o

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงานทราบ พร้อมขออนุมัติการ ดำเนินงานหรือปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual Processing) สำหรับกระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบ อย่างสูงหากไม่ดำเนินการ

หัวหน้าและทีมงาน บริหารความต่อเนื่องของ กลุ่มฯ

o

  • ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ จัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง ได้แก่

- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

- วัสดุอุปกรณ์สำคัญ

- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

- บุคลากรหลัก

- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หัวหน้าและทีมงาน บริหารความต่อเนื่องของ กลุ่มฯ

o

  • พิจารณาดำเนินการหรือปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual) เฉพาะงานเร่งด่วน หากไม่ดำเนินการจะไม่ส่งผลกระทบ อย่างสูงและไม่สามารถรอได้ ทั้งนี้ ต้องได้รับการอนุมัติ

หัวหน้าและทีมงาน บริหารความต่อเนื่องของ กลุ่มฯ

o

  • ระบุหน่วยงานที่เป็นคู่ค้า/ผูให้บริการสำนักงานเร่งด่วน เพื่อแจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารให้มีความ ต่อเนื่องตามความเห็นของคณะบริหารความต่อเนื่องของ หน่วยงาน

หัวหน้าและทีมงาน บริหารความต่อเนื่องของ กลุ่มฯ

o

  • บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ต้องดำเนินการ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดำเนินการและเวลา) อย่าง สม่ำเสมอ

ทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดำเนินการสำหรับ ในวันถัดไป ให้กับบุคลากรหลักในกลุ่มฯ เพื่อรับทราบ และดำเนินการ อาทิ แจ้งวัน เวลา และสถานที่ปฏิบัติงาน สำรอง

หัวหน้า ทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอหรือตามที่ได้     กำหนดไว้

หัวหน้า ทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

 

 

 

 

 

วันที่ 2-7 การตอบสนองในระยะสั้น

              การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่น และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ ประเมินความจำเป็นและระยะเวลา ที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน

หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • ตรวจสอบกับหน่วยงาน ความพร้อมและข้อจำกัดใน การจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง ได้แก่

- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ

- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

- บุคลากรหลัก

- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ หน่วยงาน ความพร้อม ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะ ในการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • ประสานงานและดำเนินการจัดหาทรัพยากรที่ จำเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่

- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ

- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

- บุคลากรหลัก

- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • ดำเนินการกอบกู้และจัดหาข้อมูลและรายงานต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงานและให้บริการตาม ตารางที่ 6

ทีมงานความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • ดำเนินงานและให้บริการ ภายใต้ทรัพยากรที่จัดหา เพื่อบริหารความต่อเนื่อง:

- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ

- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

- บุคลากรหลัก

- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

 

 

 

 

หัวหน้าและทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารความ ต่อเนื่องแก่ส่วนราชการ/ผู้ใช้บริการ/คู่ค้า/ประชาชน ผู้มาติดต่อราชการที่ได้รับผลกระทบ

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มฯ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดำเนินการ และเวลา) อย่าง สม่ำเสมอ

ทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดำเนินการต่อไป สำหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรในกลุ่มฯ

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้

หัวหน้าทีมงานบริหาร ความต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

 

 

วันที่ 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์)

            การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่น และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ และประเมินความจำเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • ระบุทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ เพื่อดำเนินงานและ ให้บริการตามปกติ

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน สถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับ ผลกระทบ และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพื่อดำเนินงาน และให้บริการตามปกติ

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

  • ประสานงานและดำเนินการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้อง ใช้เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ได้แก่

- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ

- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

- บุคลากรหลัก

- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

 

 

 

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพยากรต่างๆ เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ให้กับบุคลากรในฝ่าย

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • บันทึกและทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มฯ ( พร้อมระบุ รายละเอียด ผู้ดำเนินการ และเวลา (อย่างสม่ำเสมอ)

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

 

 

การตอบสนองระยะยาว (มากกว่า 1 เดือน)

            การปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่น

และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

 

  • ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ และประเมินความจำเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

  • ระบุทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ เพื่อดำเนินงานและ ให้บริการตามปกติ

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

  • รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน สถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับ ผลกระทบ และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพื่อดำเนินงาน และให้บริการตามปกติ

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

 

  • ประสานงานและดำเนินการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้อง ใช้เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ได้แก่

- สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง

- วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ

- เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ

- บุคลากรหลัก

- คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

 

  • แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพยากรต่างๆ เพื่อดำเนินงานและให้บริการตามปกติ ให้กับบุคลากรในฝ่าย

 

 

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

 

 

ขั้นตอนและกิจกรรม

บทบาทความรับผิดชอบ

ดำเนินการแล้วเสร็จ

  • บันทึกและทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของกลุ่มฯ ( พร้อมระบุ รายละเอียด ผู้ดำเนินการ และเวลา (อย่างสม่ำเสมอ)

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

  • รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้

หัวหน้าทีมงานบริหารความ ต่อเนื่องของกลุ่มฯ

o

           

 

กรณีหน่วยงานที่มีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง  เป็นเรื่องที่มีชั้นความลับของข้อมูลหรือข้อมูลมีความอ่อนไหวที่หน่วยงานไม่อาจเผยแพร่ต่อสาธารณะ หรืออาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ได้จัดทำแผนรองรับภารกิจดังกล่าวไว้แล้ว และจัดเก็บไว้ที่หน่วยงาน โดยมีรายชื่อแผนที่จัดเก็บไว้ดังนี้

 

< >…………………-……………………………..…………………-…………………………….. 

 

 

 

 

รายงานโดย : โรงเรียนบ้านโคกสว่าง(คุรุประชานุกูล) ::..วันที่ส่ง : 2024-01-30 อ่าน : 419